สามก๊ก ฉบับ เจ้าพระยาพระคลัง(หน): โดย สามก๊กวิทยา

Front Cover

หนังสือสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง(หน) โดย สามก๊กวิทยา : Romance of the Three Kingdoms

หนังสือสามก๊กที่นำสำนวนสามก๊กฉบับดั้งเดิมมาเรียบเรียง จัดรูปเล่มใหม่ เพิ่มรูปภาพตัวละครและเหตุการณ์สำคัญเข้าไป ทำให้ดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

หนังสือเล่มนี้เป็นฉบับสมบูรณ์ ครบถ้วนทุกตอน และจบบริบูรณ์ภายในเล่ม 

www.samkok911.com

 

Contents

ตอนที่ 44
ตอนที่ 45
ตอนที่ 46
ตอนที่ 47
ตอนที่ 48
ตอนที่ 49
ตอนที่ 50
ตอนที่ 51

ตอนที่ 7
8
ตอนที่ 8
14
ตอนที่ 9
ตอนที่ 10
ตอนที่ 11
ตอนที่ 12
ตอนที่ 13
ตอนที่ 14
ตอนที่ 15
ตอนที่ 16
ตอนที่ 17
ตอนที่ 18
ตอนที่ 19
ตอนที่ 20
ตอนที่ 21
ตอนที่ 22
ตอนที่ 23
ตอนที่ 24
ตอนที่ 25
ตอนที่ 26
ตอนที่ 27
ตอนที่ 28
ตอนที่ 29
ตอนที่ 30
ตอนที่ 31
ตอนที่ 32
ตอนที่ 33
ตอนที่ 34
ตอนที่ 35
ตอนที่ 36
ตอนที่ 37
ตอนที่ 38
ตอนที่ 39
ตอนที่ 40
ตอนที่ 41
ตอนที่ 42
ตอนที่ 43
ตอนที่ 52
ตอนที่ 53
ตอนที่ 54
ตอนที่ 55
ตอนที่ 56
ตอนที่ 57
ตอนที่ 58
ตอนที่ 59
ตอนที่ 60
ตอนที่ 61
ตอนที่ 62
ตอนที่ 63
ตอนที่ 64
ตอนที่ 65
ตอนที่ 66
ตอนที่ 67
ตอนที่ 68
ตอนที่ 69
ตอนที่ 70
ตอนที่ 71
ตอนที่ 72
ตอนที่ 73
ตอนที่ 74
ตอนที่ 75
ตอนที่ 76
ตอนที่ 77
ตอนที่ 78
ตอนที่ 79
ตอนที่ 80
ตอนที่ 81
ตอนที่ 82
ตอนที่ 83
ตอนที่ 84
ตอนที่ 85
ตอนที่ 86
ตอนที่ 87

Other editions - View all

Common terms and phrases

ก็ กวนอู กวนอูจึงตอบว่า กวนอูจึงว่า กองซุนจ้าน ก่อน การ ขอให้ ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะ ขุนนาง คน ครั้งนี้ ครั้น ครั้นเวลา ครั้นอยู่มาวันหนึ่ง ความยินดี เคาทู จึง จึงตอบว่า จึงบอกว่า จึงว่า จึงให้ จึงเอา แจ้ง โจโฉ โจโฉจึง โจโฉจึงตอบว่า โจโฉจึงว่า โจโฉได้ฟังดังนั้นก็มีความยินดี โจโฉเห็น โจโฉเห็นชอบด้วย ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง ซึ่ง ซึ่งท่าน ซุนเซ็ก ซุนฮกจึงว่าแก่โจโฉว่า ซุนฮิวจึงว่า ณ ค่าย ณ เมือง ณ เมืองฮูโต ด้วย ดังนั้น โดยง่าย ใด ได้ ตอนที่ ตอบว่า ตั้งโต๊ะ ตาย เตียวเลี้ยว เตียวเลี้ยวจึงตอบว่า เตียวเลี้ยวจึงว่า เตียวหุย เตียวหุยจึงว่า แต่ ถ้า เถิด ทหาร ทหารทั้ง ทหารทั้งปวง ท่าน นัก นั้น ใน บอกว่า บัดนี้ บ้าน ประการ ประการใด ประการหนึ่ง เป็นอันมาก ไป ผู้ใด แผ่นดิน ฝ่าย พระเจ้า พระเจ้าเหี้ยนเต้ เพราะ มหาอุปราช มั่นคง มา มาก มิได้ เมือง เมืองกิจิ๋ว เมืองซงหยง เมืองเตียงฮัน เมืองเสียวพ่าย เมืองหลวง ไม่ ไม่ควร ไม่ได้ ยินดี เรา เราจะ ลิเตียน ลิโป้ ลิโป้เห็นชอบด้วย เลย เล่าปี่ เล่าปี่จึง เล่าปี่จึงตอบว่า เล่าปี่จึงถามว่า เล่าปี่จึงว่า เล่าปี่ว่า แล แล้ว แล้วว่า แล้วให้ ว่า ไว้ สติปัญญา สืบไป เสีย หน หนึ่ง หรือ เห็น เห็นชอบด้วย เหี้ยนเต้ ให้ ใหญ่ อยู่ อยู่ ณ อ้วนสุด อ้วนเสี้ยว อ้วนเสี้ยวจึงว่า อันตราย อันมาก อุปมา Chen Dong Lady Yuan Zhang

About the author (2021)

'เจ้าพระยาพระคลัง (หน)' เป็นกวีเอกคนหนึ่งในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ มีนามเดิมว่า หน เกิดเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด คาดว่าน่าจะอยู่ในช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา และถึงแก่อสัญกรรมในสมัยรัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2348 ประวัติอื่น ๆ มีปรากฏน้อย มีผลงานด้านวรรณคดีที่ท่านได้แต่งไว้หลายเรื่อง หนึ่งในเรื่องนั้นคือเรื่อง สามก๊ก



 'สามก๊กวิทยา' เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมบทความ ข้อมูล ข่าวสาร สื่อบันเทิง และเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับวรรณกรรมจีนเรื่องสามก๊ก โดยมีความตั้งใจสูงสุด คือ ทำให้คนไทยทุกคนรักสามก๊ก และจะทำให้เว็บไซต์นี้ เป็นแหล่งศึกษาเรื่องสามก๊กที่ดีที่สุดในประเทศไทย...!


สามก๊กวิทยา : Three Kingdoms Academy (samkok911.com)

ล่อกวนตงเป็นผู้แต่งนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก และได้ชื่อว่าเป็นผู้ปรับปรุงเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ซึ่งนับเป็น 2 ใน 4 สุดยอดวรรณกรรมจีน (อีกสองเรื่องคือ ไซอิ๋ว และความฝันในหอแดง)


ชีวประวัติของล่อกวนตงไม่ใคร่แน่ชัด แต่มีการยืนยันว่าเขามีชีวิตอยู่ในช่วงปลายราชวงศ์หยวนถึงต้นราชวงศ์หมิงจริง นักปราชญ์ผู้หนึ่งชื่อ เจียจงหมิง (賈仲明) บันทึกไว้ว่าเคยพบกับล่อกวนตงในราวปี ค.ศ. 1364 และว่าเขาเป็นชาวไท่หยวน แต่นักประวัติศาสตร์ยุคเดียวกันหลายคนต่างระบุบ้านเกิดของล่อกวนตงแตกต่างกันไป เช่นมาจากหางโจวบ้าง หรือเจียงหนานบ้าง แต่ไท่หยวน น่าจะเป็นบ้านเกิดของเขามากที่สุดเพราะเป็นที่ตั้งของบ้านตระกูลหลอ ซึ่งมีชื่อของล่อกวนตงอยู่ในสาแหรกตระกูลด้วย


ล่อกวนตงเคยเข้าร่วมก๊กต่อต้านราชวงค์หยวนกลุ่มหนึ่ง (ซึ่งต่อมาถูกจูหยวนจางโจมตี)ซึ่งทำหน้าที่กุนซือ


นักประวัติศาสตร์วรรณกรรมจำนวนหนึ่งสงสัยว่า ล่อกวนตง กับ ซือไน่อัน เป็นบุคคลคนเดียวกันหรือไม่ ชื่อ ซือไน่อัน อาจเป็นเพียงนามแฝงในการประพันธ์เรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ก็ได้ เพราะเนื้อหาของเรื่องค่อนข้างต่อต้านรัฐบาลกลาง

Luo Ben (c. 1330–1400), better known by his courtesy name Guanzhong , was a Chinese writer who lived during the Ming dynasty. He was also known by his pseudonym Huhai Sanren. Luo was attributed with writing Romance of the Three Kingdoms, one of the Four Great Classical Novels of Chinese literature.

หลัว กวั้นจง ตามสำเนียงกลาง หรือ ล่อกวนตง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (จีนตัวย่อ: 罗贯中; จีนตัวเต็ม: 羅貫中; พินอิน: Luó Guànzhōng) เป็นปราชญ์และนักประพันธ์ชาวจีน มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 14 (ค.ศ. 1330-ค.ศ. 1400) หรือยุคปลายของราชวงศ์หยวน ต่อถึงต้นราชวงศ์หมิง

ล่อกวนตงเป็นผู้แต่งนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก และได้ชื่อว่าเป็นผู้ปรับปรุงเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ซึ่งนับเป็น 2 ใน 4 สุดยอดวรรณกรรมจีน (อีกสองเรื่องคือ ไซอิ๋ว และความฝันในหอแดง)